สรีรวิทยาระบบหายใจ /

พรพรหม ย่อยสูงเนิน,

สรีรวิทยาระบบหายใจ / พรพรหม ย่อยสูงเนิน - พิมพ์ครั้งที่ 1 - 5 online resource (195 หน้า)

ส่วนประกอบและหน้าที่ของระบบหายใจ -- ส่วนประกอบของระบบหายใจ -- หน้าที่ของระบบหายใจ -- ระบบประสาทที่มาควบคุมอวัยวะของระบบการหายใจ -- เส้นประสาทที่มาเลี้ยงกล้ามเนื้อของการหายใจ -- ระบบไหลเวียนเลือดของปอด -- สรุปบทที่ 1 -- คำถามท้ายบท -- เฉลยคำถามท้ายบท กลศาสตร์ของการสูดลมหายใจ -- ความดันที่เกี่ยวข้องกับการหายใจ -- การหายใจเข้า -- การหายใจออก -- ความสัมพันธ์ทางคลินิก: pneumothorax -- แรงต้านทานการหายใจ -- แรงต้านทานยืดหยุ่น -- แรงต้านทานไม่ยืดหยุ่น -- ปัจจัยที่มีผลต่อแรงต้านทานของท่อทางเดินอากาศ -- ความสัมพันธ์ทางคลินิก: ภาวะ dynamic compression of airway -- ความสามารถในการยืดขยายของปอด -- ปริมาตรและความจุปอด -- การวัดสมรรถภาพปอด -- สรุปบทที่ 2 -- คำถามท้ายบท -- เฉลยคำถามท้ายบท การระบายอากาศของปอดและการแลกเปลี่ยนก๊าซที่ปอด -- การระบายอากาศของปอด -- ปริมาตรอากาศสูญเปล่า -- ความสัมพันธ์ทางคลินิก: alveolar hypoventilation และ hyperventilation -- การกระจายตัวของเลือดในปอด -- การควบคุมปริมาณการไหลของเลือดที่ปอด -- สัดส่วนของการระบายอากาศกับเลือดที่ถุงลมปอด -- ความไมสัมพันธ์กันระหว่างการระบายอากาศและจำนวนเลือดที่ไหลผ่านปอด -- ความสัมพันธ์ทางคลินิก: ภาวะลิ่มเลือดอุดกั้นในปอด (pulmonary embolism) -- การแลกเปลี่ยนก๊าซที่ปอด -- กฎของก๊าซ (Gas Laws) -- ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการแพร่ของก๊าซผ่าน respiratory membrane -- การแลกเปลี่ยนก๊าซถูกจำกัดโดยความสามารถในการแพร่ผ่าน -- และถูกจำกัดโดยปริมาณเลือดที่ไหลผ่านปอด -- สรุปบทที่ 3 -- คำถามท้ายบท -- เฉลยคำถามท้ายบท การขนส่งก๊าซ -- การขนส่งออกซิเจน -- กราฟการจับ -ปล่อยออกซิเจนกับฮีโมโกลบิน -- สิ่งที่ใช้บ่งขี้ถึงการเปลี่ยนแปลงของความชอบของฮีโมโกลบินในการจับกับออกซิเจน -- ปัจจัยที่มีผลต่อการเลื่อนของกราฟการจับ-ปล่อยของออกซิเจนกับฮีโมโกลบิน -- ปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลต่อการขนส่งออกซิเจน -- ความสัมพันธ์ทางคลินิก: Methemoglobinemia -- การขนส่งคาร์บอนไดออกไซด์ -- กราฟการจับ-ปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ -- สรุปเปรียบเทียบการขนส่งออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ -- สรุปบทที่ 4 -- คำถามท้ายบท -- เฉลยคำถามท้ายบท การควบคุมการหายใจ -- การควบคุมการหายใจโดยระบบประสาท -- ศูนย์ควบคุมการหายใจระดับพอนด์ -- ศูนย์ควบคุมการหายใจระดับเมดัลลา -- วิธีการศึกษาความสัมพันธ์ของการทำงานของศูนย์ควบคุมการหายใจ -- การควบคุมการหายใจโดยสารเคมี -- การควบคุมการหายใจโดยปัจจัยที่ไม่ใช่สารเคมี -- บทบาทของระบบหายใจต่อระบบสมดุลของกรด - ด่างของร่างกาย -- ความสัมพันธ์ทางคลินิก: diabetic ketoacidosis -- ผลของการออกกำลังกายต่อระบบหายใจ -- กลไกและผลการเพิ่มการระบายอากาศขณะออกกำลังกาย -- ปริมาณการไหลของเลือดที่ปอดขณะออกกำลังกาย -- ผลของการขึ้นไปบนที่สูงต่อระบบหายใจ -- ภาวะเจ็บป่วยจากการขึ้นไปบนที่สูง -- สรุปบทที่ 5 -- คำถามท้ายบท -- เฉลยคำถามท้ายบท

การหายใจเป็นกระบวนการแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเกิดระหว่างถุงลมกับหลอดเลือดฝอยที่อยู่รอบ ๆ ถุงลม และระหว่างเลือดกับเซลล์ของเนื้อเยื่อ ดังนั้นระบบหายใจจึงมีหน้าที่ควบคุมปริมาณก๊าซออกซิเจนให้เพียงพอกับความต้องการของเซลล์ทั่วร่างกายและขับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกนอกร่างกาย ทั้งนี้เพื่อรักษาสภาวะแวดล้อมภายในร่างกายให้อยู่ในสภาพคงที่ (homeostasis) กระบวนการหายใจ แบ่งเป็น 2 แบบคือ การหายใจภายนอก (External respiration) และการหายใจภายใน (Internal respiration) โดยเนื้อหาในตำราเล่มนี้จะกล่าวถึงกระบวนการหายใจภายนอกเท่านั้น นอกจากนี้เนื้อหาจะรวมถึงการควบคุมการหายใจ บทบาทของระบบหายใจต่อการรักษาสมดุลกรด-ด่างในร่างกายมนุษย์ อีกทั้งการปรับตัวของร่างกายโดยเปลี่ยนแปลงการทำงานของระบบหายใจในภาวะต่างๆ เช่น ขณะออกกำลังกาย และขณะขึ้นไปบนที่สูง พร้อมทั้งเน้นจุดสำคัญที่ควรทราบ การเชื่อมโยงทางคลินิก และคำถามท้ายบท เพื่อทบทวนและประเมินความรู้ความเข้าใจในแต่ละบทอีกด้วย

9796163147776 9786163147776

69277fb9-55ed-4751-84d9-05f66f7341cc ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


ทางเดินหายใจ--กายวิภาค

ปริญญาตรี / ปวส. แพทยศาสตร์
ห้องสมุด | BCNB Library วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ ชั้น 3 อาคารสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 02-354-8241-2 ต่อ 3308
website counter