กายภาพบำบัดในผู้ป่วยผ่าตัดหัวใจแบบเปิด ฉพ.1 / กรอนงค์ ยืนยงชัยวัฒน์

By: กรอนงค์ ยืนยงชัยวัฒน์ [ผู้แต่ง]Material type: TextTextPublisher: กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564Edition: พิมพ์ครั้งที่ 1Description: 3 online resource (232 หน้า)Content type: text Media type: computer Carrier type: online resourceISBN: 9796163146519; 9786163146519Subject(s): โรคหลอดเลือดโคโรนารีย์ -- การฟื้นฟูสมรรถภาพ | โรคลิ้นหัวใจ -- การฟื้นฟูสมรรถภาพ | กายภาพบำบัด | แพทยศาสตร์Online resources: หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (ebook) CU-eLibrary | รูปหน้าปก (Cover image)
Contents:
โรคหลอดเลือดหัวใจและโรคลิ้นหัวใจ -- หลอดเลือดหัวใจ -- โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ -- อาการและอาการแสดง -- การรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ -- โรคลิ้นหัวใจ (Valvular heart disease) -- ลิ้นหัวใจ -- โรคลิ้นหัวใจตีบ/รั่ว -- การผ่าตัดหัวใจแบบเปิด (Open heart surgery) -- การผ่าตัดหลอดเลือดหัวใจ -- ผ่าตัดรักษาโรคลิ้นหัวใจ
การตรวจร่างกายและทดสอบสมรรถภาพในผู้ป่วยหัวใจ -- การรวบรวมประวัติ ในผู้ป่วยหัวใจและหลอดเลือด -- การตรวจร่างกายเพื่อประเมินทางหัวใจและหลอดเลือด -- การทดสอบสมรรถภาพหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular fitness testing) -- การทดสอบด้วยลู่วิ่ง (Treadmill test) -- การทดสอบด้วยจักรยานวัดงาน (Bicycle ergometry test)
บทบาทของนักกายภาพบำบัดก่อนการผ่าตัดหัวใจแบบเปิด (Physiotherapy management in pre-operative open heart surgery) -- ผลการผ่าตัดต่อการเปลี่ยนแปลงทางระบบทางเดินหายใจ -- ภาวะแทรกซ้อนทางระบบหายใจที่เกิดขึ้นหลังการผ่าตัดหัวใจ -- (Pulmonary complications following cardiac surgery) -- การฝึกหายใจ (Breathing exercise) -- การฝึกการไอ (Coughing training) -- การฝึกการเคลื่อนไหวของทรวงอกและลำตัว (Chest trunk mobilization) -- การฝึกการเคลื่อนย้ายตัวบนเตียง (Bed mobility) -- การออกกำลังกายเพิ่มการเคลื่อนไหว Active range of motion exercise (AROM exercise)
บทบาทกายภาพบำบัดในการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ ระยะที่ 1 (Physiotherapy management in cardiac rehabilitation phase l) -- การรักษาทางกายภาพบำบัดในการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ ระยะที่ 1 -- วัตถุประสงค์ของการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจในระยะที่ 1 -- ประกอบของโปรแกรมการออกกำลังกาย (Exercise prescription) -- ข้อห้าม/ข้อควรระวังในการออกกำลังกาย -- ตัวอย่าง กรณีศึกษาผู้ป่วยผ่าตัดทำทางเยี่ยงหลอดเลือดหัวใจ
บทบาทกายภาพบำบัดในการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ ระยะที่ 2 (Physiotherapy management in cardiac rehabilitation phase lI) -- การรักษาทางกายภาพบำบัดในการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ ระยะที่ 2 -- องค์ประกอบของโปรแกรมการออกกำลังกาย (Exercise prescription) -- ข้อห้าม/ข้อควรระวังในการออกกำลังกาย -- รูปแบบโปรแกรมการออกกำลังกายเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ
บทบาทกายภาพบำบัดในการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ ระยะที่ 3-4 (Physiotherapy management in cardiac rehabilitation phase IIl-IV) -- วัตถุประสงค์ของโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพในระยะยาว -- โปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจระยะยาว -- การออกกำลังกายด้วยแรงต้าน (resistance exercise) -- การออกกำลังกายในลักษณะ circuit weight training -- การออกกำลังกายในน้ำ (aquatics exercise) -- การออกกำลังกายที่บ้าน (Home-based exercise) -- ปัจจัยเสี่ยงและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
บทที่ 7 หลักฐานเชิงประจักษ์ในการวัดและประเมินผลทางกายภาพบำบัดทางระบบหายใจ หัวใจและหลอดเลือด -- การทดสอบการเดินใน 6 นาที (Six minute walking test: 6 MWT) -- การทดสอบความเร็ว (Gait speed walking test) -- การทดสอบการเดินเพิ่มความเร็ว (Incremental shutter walking test: ISWT) -- การประเมินทางจิตวิทยาและคุณภาพชีวิต
Summary: โรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นๆ ในประเทศ รวมทั้งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้น ๆ ของคนไทย การรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือดในปัจจุบันมีอยู่หลายวิธี ได้แก่ การรักษาทางยา และการผ่าตัดเปิดหัวใจ (Open heart surgery) ซึ่งทำให้มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางระบบทางเดินหายใจ หัวใจและหลอดเลือด (Risk of post-pulmonary complications) รวมถึงสมรรถภาพทางหลอดเลือดและหัวใจลดลง (Impaired cardiovascular endurance) บทบาทหน้าที่ของกายภาพบำบัดทางระบบหายใจ หัวใจและหลอดเลือด (Physiotherapy in cardiopulmonary) คือการป้องกันหรือลดภาวะแทรกซ้อนภายหลังการผ่าตัดในผู้ป่วยประเภทต่างๆ เพิ่มการระบายอากาศ รวมถึงการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจและหลอดเลือด ตั้งแต่ระยะก่อนการผ่าตัดระยะหลังผ่าตัดในขณะรับการรักษาที่โรงพยาบาล จนถึงระยะที่ผู้ป่วยกลับบ้าน
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

โรคหลอดเลือดหัวใจและโรคลิ้นหัวใจ -- หลอดเลือดหัวใจ -- โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ -- อาการและอาการแสดง -- การรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ -- โรคลิ้นหัวใจ (Valvular heart disease) -- ลิ้นหัวใจ -- โรคลิ้นหัวใจตีบ/รั่ว -- การผ่าตัดหัวใจแบบเปิด (Open heart surgery) -- การผ่าตัดหลอดเลือดหัวใจ -- ผ่าตัดรักษาโรคลิ้นหัวใจ

การตรวจร่างกายและทดสอบสมรรถภาพในผู้ป่วยหัวใจ -- การรวบรวมประวัติ ในผู้ป่วยหัวใจและหลอดเลือด -- การตรวจร่างกายเพื่อประเมินทางหัวใจและหลอดเลือด -- การทดสอบสมรรถภาพหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular fitness testing) -- การทดสอบด้วยลู่วิ่ง (Treadmill test) -- การทดสอบด้วยจักรยานวัดงาน (Bicycle ergometry test)

บทบาทของนักกายภาพบำบัดก่อนการผ่าตัดหัวใจแบบเปิด (Physiotherapy management in pre-operative open heart surgery) -- ผลการผ่าตัดต่อการเปลี่ยนแปลงทางระบบทางเดินหายใจ -- ภาวะแทรกซ้อนทางระบบหายใจที่เกิดขึ้นหลังการผ่าตัดหัวใจ -- (Pulmonary complications following cardiac surgery) -- การฝึกหายใจ (Breathing exercise) -- การฝึกการไอ (Coughing training) -- การฝึกการเคลื่อนไหวของทรวงอกและลำตัว (Chest trunk mobilization) -- การฝึกการเคลื่อนย้ายตัวบนเตียง (Bed mobility) -- การออกกำลังกายเพิ่มการเคลื่อนไหว Active range of motion exercise (AROM exercise)

บทบาทกายภาพบำบัดในการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ ระยะที่ 1 (Physiotherapy management in cardiac rehabilitation phase l) -- การรักษาทางกายภาพบำบัดในการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ ระยะที่ 1 -- วัตถุประสงค์ของการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจในระยะที่ 1 -- ประกอบของโปรแกรมการออกกำลังกาย (Exercise prescription) -- ข้อห้าม/ข้อควรระวังในการออกกำลังกาย -- ตัวอย่าง กรณีศึกษาผู้ป่วยผ่าตัดทำทางเยี่ยงหลอดเลือดหัวใจ

บทบาทกายภาพบำบัดในการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ ระยะที่ 2 (Physiotherapy management in cardiac rehabilitation phase lI) -- การรักษาทางกายภาพบำบัดในการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ ระยะที่ 2 -- องค์ประกอบของโปรแกรมการออกกำลังกาย (Exercise prescription) -- ข้อห้าม/ข้อควรระวังในการออกกำลังกาย -- รูปแบบโปรแกรมการออกกำลังกายเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ

บทบาทกายภาพบำบัดในการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ ระยะที่ 3-4 (Physiotherapy management in cardiac rehabilitation phase IIl-IV) -- วัตถุประสงค์ของโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพในระยะยาว -- โปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจระยะยาว -- การออกกำลังกายด้วยแรงต้าน (resistance exercise) -- การออกกำลังกายในลักษณะ circuit weight training -- การออกกำลังกายในน้ำ (aquatics exercise) -- การออกกำลังกายที่บ้าน (Home-based exercise) -- ปัจจัยเสี่ยงและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

บทที่ 7 หลักฐานเชิงประจักษ์ในการวัดและประเมินผลทางกายภาพบำบัดทางระบบหายใจ หัวใจและหลอดเลือด -- การทดสอบการเดินใน 6 นาที (Six minute walking test: 6 MWT) -- การทดสอบความเร็ว (Gait speed walking test) -- การทดสอบการเดินเพิ่มความเร็ว (Incremental shutter walking test: ISWT) -- การประเมินทางจิตวิทยาและคุณภาพชีวิต

โรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นๆ ในประเทศ รวมทั้งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้น ๆ ของคนไทย การรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือดในปัจจุบันมีอยู่หลายวิธี ได้แก่ การรักษาทางยา และการผ่าตัดเปิดหัวใจ (Open heart surgery) ซึ่งทำให้มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางระบบทางเดินหายใจ หัวใจและหลอดเลือด (Risk of post-pulmonary complications) รวมถึงสมรรถภาพทางหลอดเลือดและหัวใจลดลง (Impaired cardiovascular endurance) บทบาทหน้าที่ของกายภาพบำบัดทางระบบหายใจ หัวใจและหลอดเลือด (Physiotherapy in cardiopulmonary) คือการป้องกันหรือลดภาวะแทรกซ้อนภายหลังการผ่าตัดในผู้ป่วยประเภทต่างๆ เพิ่มการระบายอากาศ รวมถึงการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจและหลอดเลือด ตั้งแต่ระยะก่อนการผ่าตัดระยะหลังผ่าตัดในขณะรับการรักษาที่โรงพยาบาล จนถึงระยะที่ผู้ป่วยกลับบ้าน

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

ห้องสมุด | BCNB Library วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ ชั้น 3 อาคารสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 02-354-8241-2 ต่อ 3308
website counter