กายภาพบำบัดในผู้ป่วยภาวะวิกฤต (ฉบับปรับปรุง) / วีระพงษ์ ชิดนอก

By: วีระพงษ์ ชิดนอก [ผู้แต่ง]Material type: TextTextPublisher: กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2564Edition: พิมพ์ครั้งที่ 3Description: 2 online resource (196 หน้า)Content type: 2 online resource (197 หน้า) Media type: computer Carrier type: online resourceISBN: 9786164260207; 9786164262072Subject(s): การดูแลผู้ป่วยหนัก | กายภาพบำบัด | ตำราแพทย์และพยาบาล | สาธารณสุขศาสตร์Online resources: หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (ebook) CU-eLibrary | รูปหน้าปก (Cover image)
Contents:
การชักประวัติทางกายภาพบำบัดระบบทางเดินหายใจ และไหลเวียนโลหิตในผู้ป่วยภาวะวิกฤต -- การตรวจประเมินทางกายภาพบำบัดระบบทางเดินหายใจและไหลเวียนโลหิตในผู้ป่วยภาวะวิกฤต -- ผลตรวจทางห้องปฎิบัติการและสัญญาณชีพเพื่อการตัดสินใจให้การรักษาทางกายภาพบำบัด -- คลื่นไฟฟ้าหัวใจสำหรับนักกายภาพบำบัด -- ภาพถ่ายรังสีทรวงอกสำหรับนักกายภาพบำบัด -- ปัญหาทางกายภาพบำบัดระบบทางเดินหายใจและไหลเวียนโลหิตในผู้ป่วยภาวะวิกฤต -- กายภาพบำบัดในผู้ป่วยภาวะวิกฤตที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ -- กายภาพบำบัดในผู้ป่วยภาวะวิกฤตที่ได้รับการบำบัดด้วยออกซิเจน -- เทคนิคการรักษาทางกายภาพบำบัดสำหรับผู้ป่วยภาวะวิกฤต -- โปรแกรมการเคลื่อนไหวร่างกายทางกายภาพบำบัดในผู้ป่วยภาวะวิกฤต.
Summary: นักกายภาพบำบัด มีบทบาทสำคัญในการประยุกต์ใช้เทคนิคการรักษาทางกายภาพบำบัด เพื่อการบำบัดภาวะกล้ามเนื้ออ่อนแรงและข้อต่อติดการฝึกความแข็งแรงกล้ามเนื้อหายใจ การระบายเสมหะด้วยเทคนิคแบบต่าง ๆ ช่วยให้ผู้ป่วยหย่าเครื่องช่วยหายใจได้เร็วขึ้นจากภาวะวิกฤตของผู้ป่วยด้วยพยาธิสภาพของโรค การนอนบนเตียงเป็นเวลานาน และไม่ได้เคลื่อนไหวร่างกาย สามารถลดปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ ทำให้ผู้ป่วยสามารถกลับมาทำกิจกรรมต่าง ๆ และสามารถหายใจเองได้เร็วขึ้น ทั้งนี้นักกายภาพบำบัดควรทำการรักษาผู้ป่วยแบบองค์รวม โดยการวิเคราะห์ปัญหาผู้ป่วย วางแผนการรักษา และทำการรักษาให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีในระยะยาวสำหรับผู้ป่วย
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การชักประวัติทางกายภาพบำบัดระบบทางเดินหายใจ และไหลเวียนโลหิตในผู้ป่วยภาวะวิกฤต -- การตรวจประเมินทางกายภาพบำบัดระบบทางเดินหายใจและไหลเวียนโลหิตในผู้ป่วยภาวะวิกฤต -- ผลตรวจทางห้องปฎิบัติการและสัญญาณชีพเพื่อการตัดสินใจให้การรักษาทางกายภาพบำบัด -- คลื่นไฟฟ้าหัวใจสำหรับนักกายภาพบำบัด -- ภาพถ่ายรังสีทรวงอกสำหรับนักกายภาพบำบัด -- ปัญหาทางกายภาพบำบัดระบบทางเดินหายใจและไหลเวียนโลหิตในผู้ป่วยภาวะวิกฤต -- กายภาพบำบัดในผู้ป่วยภาวะวิกฤตที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ -- กายภาพบำบัดในผู้ป่วยภาวะวิกฤตที่ได้รับการบำบัดด้วยออกซิเจน -- เทคนิคการรักษาทางกายภาพบำบัดสำหรับผู้ป่วยภาวะวิกฤต -- โปรแกรมการเคลื่อนไหวร่างกายทางกายภาพบำบัดในผู้ป่วยภาวะวิกฤต.

นักกายภาพบำบัด มีบทบาทสำคัญในการประยุกต์ใช้เทคนิคการรักษาทางกายภาพบำบัด เพื่อการบำบัดภาวะกล้ามเนื้ออ่อนแรงและข้อต่อติดการฝึกความแข็งแรงกล้ามเนื้อหายใจ การระบายเสมหะด้วยเทคนิคแบบต่าง ๆ ช่วยให้ผู้ป่วยหย่าเครื่องช่วยหายใจได้เร็วขึ้นจากภาวะวิกฤตของผู้ป่วยด้วยพยาธิสภาพของโรค การนอนบนเตียงเป็นเวลานาน และไม่ได้เคลื่อนไหวร่างกาย สามารถลดปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ ทำให้ผู้ป่วยสามารถกลับมาทำกิจกรรมต่าง ๆ และสามารถหายใจเองได้เร็วขึ้น ทั้งนี้นักกายภาพบำบัดควรทำการรักษาผู้ป่วยแบบองค์รวม โดยการวิเคราะห์ปัญหาผู้ป่วย วางแผนการรักษา และทำการรักษาให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีในระยะยาวสำหรับผู้ป่วย

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

ห้องสมุด | BCNB Library วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ ชั้น 3 อาคารสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 02-354-8241-2 ต่อ 3308
website counter