TY - BOOK AU - อาจินต์ สงทับ, TI - การศึกษาทางวิทยาการระบาด =Epidemiological Studies SN - 9786164262218 PY - 2565/// CY - กรุงเทพฯ PB - มหาวิทยาลัยนเรศวร KW - วิทยาการระบาดสำหรับนำมาประยุกต์ใช้ในงาน KW - บุคลากรด้านสุขภาพ และสาธารณสุข KW - ตำราแพทย์และพยาบาล KW - สาธารณสุขศาสตร์ N1 - บทที่ 1. แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาระบาด บทที่ 2. รูปแบบการศึกษาทางวิทยาการระบาด บทที่ 3. การศึกษาวิทยาการระบาดเชิงพรรณนา บทที่ 4. การกระจายของโรค บทที่ 5. การศึกษาภาคตัดขวางเชิงวิเคราะห์ บทที่ 6. การศึกษา Cohort บทที่ 7. การศึกษาCase Control บทที่ 8. การศึกษาเชิงทดลอง บทที่ 9. การคำนวณขนาดตัวอย่างสำหรับการศึกษาทางวิทยาการระบาด N2 - ความรู้ด้านวิทยาการระบาดหรือระบาดวิทยา (Epidemiology) ได้ก้าวหน้าไปมากตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน จนกระทั่งถือว่าวิทยาการระบาดเป็นแขนงหนึ่งที่สำคัญยิ่งของสายงานด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ บุคลากรด้านสุขภาพทุกสาขาที่เกี่ยวข้องจำเป็นต้องศึกษาวิทยาการระบาดสำหรับนำมาประยุกต์ใช้ในงานของตนเพื่อให้สามารถแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนได้มีอย่างมีประสิทธิภาพ ในการดำเนินงานด้านสุขภาพ การนำหลักการศึกษาทางวิทยาการระบาดมาประยุกต์ใช้นั้นต้องอาศัยเครื่องมือ อาจเป็นหนังสือหรือตัวบุคคลที่มีประสบการณ์ในการชี้แนะแนวทางให้การดำเนินการวิจัย ประสบผลสำเร็จ ซึ่งหนังสือเล่มนี้มุ่งเน้นเรื่องการศึกษาทางวิทยาการระบาดแต่ละชนิดที่บุคลากรด้านสุขภาพสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางดำเนินการวิจัยเพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่อันนำมาแก้ไขปัญหาสุขภาพ ซึ่งจะช่วยในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของมวลมนุษยชาติ UR - https://elibrary-bcnb.cu-elibrary.com/rent/detail/025deb6a-aaf3-4034-b813-d7932b4d7e97 UR - https://d3hod2efgorauj.cloudfront.net/images/coverImages/medium/025deb6a-aaf3-4034-b813-d7932b4d7e97.jpg ER -