TY - BOOK AU - พินัยลัค ตันติลีปิกร เอิร์ด และคณะ, TI - การฝึกการเคลื่อนย้ายและการเดินสำหรับผู้ป่วยระบบประสาท ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 3 SN - 9786163147530 PY - 2564/// CY - กรุงเทพฯ PB - สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ KW - ผู้ป่วยระบบประสาท KW - การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย N1 - บทนำ : ผู้ป่วยทางระบบประสาท -- โรคหลอดเลือดสมอง -- การบาดเจ็บที่ศรีษะ -- การบาดเจ็บองไขสันหลัง -- การรักษาทางกายภาพบำบัดในผู้ป่วยทางระบบประสาท; การออกกำลังในผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีก -- การฝึกการเคลื่อนไหวของข้อไหล่ -- การฝึกการเคลื่อนไหวของข้อศอก -- การฝึกการเคลื่อนไหวของข้อมือและนิ้วมือ -- การฝึกการเคลื่อนไหวของข้อสะโพก -- การฝึกการเคลื่อนไหวของข้อเข่า -- การฝึกการเคลื่อนไหวของข้อเท้า; การออกกำลังในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง -- การฝึกการพลิกตะแคงตัวในขณะนอน -- การออกกำลังของกล้ามเนื้อรยางค์ส่วนบน -- การฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้อลำตัว -- การฝึกการทรงตัวในท่านั่งเหยียดขา -- การฝึกการยกสะโพกในขณะนั่งเหยียดขา -- การฝึกการทรงตัวในท่ายืน -- การฝึกยกตัวในท่ายืน; การเคลื่อนย้ายบนเตียง -- การจัดเตรียมในการเคลื่อนย้าย -- การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีกบนเตียงโดยมีผู้ช่วยเหลือ -- วิธีการเคลื่อนย้ายบนเตียงในผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีกโดยผู้ป่วยปฏิบัติเอง -- วิธีการเคลื่อนย้ายบนเตียงสำหรับผู้ป่วยอัมพาตครึ่งท่อน; การเคลื่อนย้าย -- การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีกจากเตียงไปเก้าอี้ล้อเข็น -- การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีกจากเก้าอี้ล้อเข็นไปเตียง -- การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยอัมพาตครึ่งท่อนระหว่างเก้าอี้ล้อเข็นและเตียง -- การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยอัมพาตครึ่งท่อนระหว่างเก้าอี้ล้อเข็นและพื้น; เครื่องช่วยเดิน -- ชนิดของเครื่องช่วยเดินประเภทต่าง ๆ -- การวัดเครื่องช่วยเดินต่าง ๆ -- การทดสอบความพอดีของเครื่องช่วยเดิน; การฝึกลุกขึ้นยืนจากเก้าอี้ล้อเข็น -- การฝึกลุกขึ้นยืนจากเก้าอี้ล้อเข็นในผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีก -- การฝึกลุกขึ้นยืนและนั่งลงบนเก้าอี้ล้อเข็นในผู้ป่วยอัมพาตครึ่งท่อน; รูปแบบของการฝึกเดิน -- การเตรียมก่อนการฝึกเดิน -- การลงน้ำหนักในการฝึกเดินในกรณีผู้ป่วยกระดูกหัก -- วิธีการฝึกเดิน -- รูปแบบของการเดิน -- การฝึกเดินสำหรับผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีก -- การฝึกเดินสำหรับผู้ป่วยอัมพาตครึ่งท่อน -- การเดินขึ้นลงบันไดหรือทางต่างระดับ N2 - การดูแลผู้ป่วยอัมพาตทางกายภาพบำบัด ประกอบด้วยการออกกำลังเพื่อให้กล้ามเนื้อมีการฟื้นตัวภายหลังจากการเกิดพยาธิสภาพ และการฝึกกิจวัตรต่าง ๆ เพื่อให้ผู้ป่วยได้เรียนรู้การทำงานของกล้ามเนื้อให้มากที่สุดเท่าที่ผู้ป่วยสามารถทำได้ เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับผู้ป่วยการเคลื่อนย้ายที่ผิดวิธีอาจก่อให้เกิดผลเสียต่อทั้งผู้ป่วยและญาติผู้ดูแล หรืออาจทำให้ผู้ป่วยกลัวที่จะเกลื่อนย้ายตนเอง ส่งผลเสียต่อการฟื้นฟูการเคลื่อนไหวของผู้ป่วย ดังนั้นการเข้าใจถึงสาเหตุของโรค วิธีการฝึกการเคลื่อนย้ายตนองทั้งบนเตียงและการลุกขึ้นจากเตียง รวมถึงการฝึกการเดินและการใช้เครื่องช่วยเดินที่ถูกต้องจึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับทั้งผู้ป่วย ญาติผู้ดูแลและนักกายภาพบำบัดในการฝึกให้ผู้ป่วยมีความสามารถช่วยเหลือตนเองให้มากที่สุด และสามารถเคลื่อนย้ายตนเองได้ทั้งภายในบ้าน ชุมชนแดะสังคมต่อไป UR - https://elibrary-bcnb.cu-elibrary.com/rent/detail/7447322e-d498-49b4-97a3-8bfc4b232d10 UR - https://d3hod2efgorauj.cloudfront.net/images/coverImages/medium/7447322e-d498-49b4-97a3-8bfc4b232d10.jpg ER -