TY - BOOK AU - สมบัติ มุ่งทวีพงษา, TI - โรคหลอดเลือดสมองและประสาทวิทยาวิกฤต ฉพ.2 SN - 9796163147233 PY - 2564/// CY - กรุงเทพฯ PB - สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ KW - โรคหลอดเลือดสมอง KW - การรักษา KW - สมอง KW - หลอดเลือด KW - แพทยศาสตร์ N1 - ส่วนที่ 1 โรคหลอดเลือดสมอง Part 1 Cerebrovascular Disease -- โรคหลอดเลือดสมองอุดกั้น (Ischemic stroke) -- บทนำ -- คำจำกัดความ (Definition) -- ระบาดวิทยา (Epidemiology) -- พยาธิสรีรวิทยา (Pathophysiology) -- กลุ่มอาการสมองขาดเลือด (Stroke syndrome) -- กลุ่มอาการ Internal Carotid Artery (ICA) -- กลุ่มอาการ Middle Cerebral Artery (MCA) -- กลุ่มอาการ Anterior Cerebral Artery (ACA) -- กลุ่มอาการ Anterior Choroidal Artery (AChA) -- กลุ่มอาการ Posterior Inferior Cerebellar Artery (PICA) -- กลุ่มอาการ Anterior Inferior Cerebellar Artery (AICA) -- กลุ่มอาการ Superior Cerebellar Artery (SCA) -- กลุ่มอาการที่เกิดจากการอุดกั้นหรือตีบแคบของหลอดเลือดเบสิลาร์ -- กลุ่มอาการ Posterior Cerebral Artery (PCA) -- กลุ่มอาการเตือนการขาดเลือดของแคปซูลและกลุ่มอาการเตือนการขาดเลือดของพอน -- กลุ่มอาการลาคูนนาร์ (lacunar syndrome); ส่วนที่ 1 โรคหลอดเลือดสมอง Part 1 Cerebrovascular Disease -- การแยกประเภทของโรคหลอดเลือดสมองอุดกั้นตามกลไกการเกิดโรคตามเกณฑ์ของ TOAST -- การป้องกันก่อนเกิดโรดหลอดเลือดสมองอุดกั้น -- ปัจจัยเสี่ยงที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ -- ปัจจัยเสี่ยงที่สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ -- ปัจจัยเสี่ยงที่น่าจะเกี่ยวข้องกับโรคหลอดเลือดสมองอุดกั้น -- การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองอุดกั้น ระยะเฉียบพลัน -- การเปิดหลอดเลือดในระยะเฉียบพลัน -- การให้ยาสลายก้อนเลือดทางหลอดเลือดดำ -- การรักษาด้วยการใส่สายสวนลากก้อนเลือดจากหลอดเลือดแดง -- การรับผู้ป่วยไว้ดูแลในหอผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง -- การให้ยาแอสไพริน (Aspirin) ภายใน 48 ชั่วโมงหลังเริ่มมีอาการ -- ประสาทวิทยาวิกฤติของภาวะสมองขาดเลือดเฉียบพลัน -- ภาวะสมองบวมหลังการขาดเลือด -- การรักษาภาวะสมองบวมที่ไม่ใช่การผ่าตัด -- การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะในผู้ป่วยที่มีสมองขาดเลือดขนาดใหญ่จากหลอดเลือด middle cerebral ถูกอุดกั้น -- การผ่าตัดในผู้ป่วยทีมีสมองส่วน cerebellum ขาดเลือดvภาวะเลือดออกแปรรูป (hemorrhagic transformation) -- การป้องกันการกลับเป็นซ้ำของโรคหลอดเลือดสมองอุดกั้น -- การรักษาปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมอง -- ความดันโลหิตสูง -- เบาหวาน -- ไขมันในเลือดสูง -- สูบบุหรี่ -- ดื่มสุรา -- โรคอ้วนและไม่ออกกำลังกาย -- หลอดเลือดแดงแคโรติดที่คอข้างเดียวกับสมองขาดเลือดตีบแคบ -- หัวใจห้องบนเต้นระริก -- รูรั่วระหว่างผนังหัวใจห้องบน -- การให้ยาต้านเกล็ดเลือด -- กรให้ยาต้านการแข็งตัวของเลือด -- การฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองอุดกั้น (Stroke rehabilitation); ส่วนที่ 1 โรคหลอดเลือดสมอง Part 1 Cerebrovascular Disease -- ภาวะเลือดออกในสมอง (Intracerebral hemorrhage) -- บทนำ -- ระบาดวิทยา -- สาเหตุ -- พยาธิสรีรวิทยา -- อาการและอาการแสดง -- การวินิจฉัย -- การรักษา -- การรักษาในช่วงฉุกเฉิน -- การรักษาด้วยการผ่าตัดเอาก้อนเลือดออก -- การควบคุมความดันโลหิต -- การให้ยากระตุ้นการแข็งตัวของเลือด -- การรักษาด้วยยาอื่น ๆ -- การควบคุมความดันในกะโหลกศีรษะ -- การพยากรณ์โรค; ส่วนที่ 1 โรคหลอดเลือดสมอง Part 1 Cerebrovascular Disease -- ภาวะเลือดออกในชั้นใต้เยื่อหุ้มสมอง (Subarachnoid hemorrhage) -- บทนำ -- ระบาดวิทยา -- พยาธิสรีรวิทยา -- อาการและอาการแสดง -- การวินิจฉัยโรค -- การรักษา -- การประเมินเบื้องตันและการเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด -- การดูแลรักษาทางยาเพื่อป้องกันภาวะเลือดออกซ้ำ -- การดูแลภาวะหลอดเลือดสมองหดตัว และภาวะสมองขาดเลือดภายหลัง -- การดูแลรักษาภาวะน้ำในโพรงน้ำเลี้ยงสมองดั่งที่เกี่ยวข้องกับภาวะ aSAH -- การดูแลภาวะซักที่เกี่ยวข้องกับภาวะเลือดออกใต้ชั้นเยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง (SAH) -- การดูแลรักษาภาวะโซเดียมต่ำในเลือด และภาวะขาดสารน้ำ; ส่วนที่ 2 ประสาทวิทยาวิกฤต Part 2 Critical Care Neurology -- การให้การรักษาภาวะความดันในโพรงกะโหลกศีรษะสูง (Management of intracranial pressure) -- บทนำ -- ข้อบ่งชี้การเฝ้าสังเกตความดันในกะโหลกศีรษะประเภทของอุปกรณ์เฝ้าสังเกตความดันในกะโหลกศีรษะ -- การประเมินความดันในกะโหลกศีรษะด้วยวิธีที่ไม่ต้องใส่อุปกรณ์เข้าไปในกะโหลกศีรษะ -- เป้าหมายของการให้การรักษาภาะความดันในกะโหลกศีรษะสูง -- วิธีการให้การรักษาภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง -- การดูแลรักษาโดยทั่วไปทางอายุรกรรม -- การดูแลเรื่องการหายใจ -- การดูแลความดันโลหิต -- การดูแลอาการไข้ -- การวางตำแหน่งของศีรษะ -- Fluid management -- การลดการกระตุ้นผู้ป่วย -- การควบคุมอาการซัก -- การให้การรักษาเพื่อลดความดันในกะโหลกศีรษะ -- การผ่าตัดเอารอยโรคที่เป็นก้อนออก -- การระบายน้ำเลี้ยงสมอง -- การให้ระบายลมหายใจเกิน -- การให้ยาขับปัสสาวะ -- การให้น้ำเกลือเข้มข้น -- บาร์บิจูเรตส์และโปรโพฟอล -- การรักษาด้วยการลดอุณหภูมิ -- การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะ; ส่วนที่ 2 ประสาทวิทยาวิกฤต Part 2 Critical Care Neurology -- การรักษาด้วยการควบคุมอุณหภูมิในผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤติทางสมอง(Targeted temperature management in critical care neurology) -- บทนำ -- หลักการรักษาด้วย TTM -- วิธีการรักษาด้วย TTM -- Invasive endovascular methods -- Non-invasive surface methods -- The novel cooling method -- อาการสั่นและผลตอบสนองทางสรีรวิทยาโดยทั่วไป -- การประยุกต์การรักษาด้วยการควบคุมอุณหภูมิในทางคลินิก -- การรักษาด้วย TTM ในผู้ป่วยหลังภาวะหัวใจหยุดเต้น -- พยาธิสรีรวิทยาของภาวะขาดออกซิเจน/กลไกตามลำดับขันของการขาดเลือด -- กลไกการออกฤทธิ์ของ TTM ในการรักษาภาวะ hypoxic-ischemic encephalopathy -- ข้อมูลทางคลินิกของการรักษาด้วย TTM ใน PCAS -- TTM ในโรคสมองขาดเลือด -- TTM ใน traumatic brain injury (TBI) -- พยาธิสรีรวิทยาของ traumatic brain injury (TBI) -- พยาธิสรีรวิทยาของความดันในกะโหลกศีรษะ -- กลไกการออกฤทธิ์ของ TTM ต่อ TBI -- การประยุกต์ TTM ในผู้ป่วย traumatic brain injury -- TTM ในสัตว์ทดลองกลุ่ม TBI -- การศึกษาวิจัยทางคลินิกของ TTM ในผู้ป่วยกลุ่ม TBI -- การดวบคุมไข้ในผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะวิกฤติทางระบบประสาทด้วยเครื่อง TTM -- การใช้ TTM ในกรณีอื่นๆ; ส่วนที่ 2 ประสาทวิทยาวิกฤต Part 2 Critical Care Neurology -- ภาวะสมองตาย (Brain death) -- ประวัติและความเป็นมา -- การตรวจร่างกาย -- การตรวจทางวิทยาศาสตร์เพื่อยืนยันภาวะสมองตาย -- ภาวะที่ให้ลักษณะทางคลินิกคล้ายคลึงภาวะสมองตาย -- เกณฑ์การวินิจฉัยภาวะสมองตายในประเทศไทย; ส่วนที่ 2 ประสาทวิทยาวิกฤต Part 2 Critical Care Neurology -- การพยากรณ์โรคในผู้ป่วยหลังภาวะหัวใจหยุดเต้น -- บทนำ -- การตรวจร่างกายทางระบบประสาท (Neurological examination) -- การตรวจทางประสาทสรีรวิทยา (Neurophysiologic studies) -- การตรวจทางรังสีวิทยาระบบประสาท (Neuroimaging studies) -- การตรวจทางชีวเคมี (Biochemical markers); ส่วนที่ 2 ประสาทวิทยาวิกฤต Part 2 Critical Care Neurology -- การดูแลผู้ป่วยหมดสติ (Approach to patients with coma) -- บทนำ -- สาเหตุของภาวะไม่รู้สึกตัว (Coma) -- แนวทางการดูแลผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัวการประเมินเบื้องต้น -- จุดที่สำคัญในการตรวจผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว -- การซักประวัติ -- การตรวจร่างกายทั่วไป -- การตรวจร่างกายทางระบบประสาท -- The Glasgow coma scale (GCS) -- การตอบสนองของรูม่านตา -- การเคลื่อนไหวของลูกตา -- ปฏิกิริยาระหว่างลูกตาและศีรษะ หรือปฏิกิริยาลูกตาตุ๊กตา -- ปฏิกิริยาระหว่างหูชั้นในและลูกตา -- ปฏิกิริยาของกระจกตา -- ระบบกล้ามเนื้อและการเคลื่อนไหว -- ระบบการหายใจ -- การวินิจฉัย -- การรักษา -- การรักษาด้านระบบการหายใจ -- การรักษาด้านระบบการไหลเวียนโลหิต -- สารอาหารและน้ำ -- การรักษาด้านระบบทางเดินอาหาร -- การรักษาด้านระบบทางเดินปัสสาวะและอวัยวะเพศ -- การรักษาสุขอนามัยและผิวหนัง N2 - ศาสตร์ทางการแพทย์นับเป็นความรู้ที่ไม่มีสิ้นสุด การเรียนรู้จากองค์ความรู้ที่สืบทอดกันมาร่วมกับการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ จากการศึกษาวิจัยจะทำให้มีความก้าวหน้าด้านนี้อย่างกว้างขวาง การเขียนตำราทางการแพทย์ออกมาสักเรื่องหนึ่งไม่ใช่เรื่องง่ายๆ โดยเฉพาะตำราดีๆ ซึ่งต้องอาศัยแรงกายแรงใจ ในการศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องรอบด้านมา ประมวลผลเป็นเนื้อหาที่สามารถถ่ายทอดให้กับผู้อื่นได้ศึกษาต่อจนเข้าใจและนำไปใช้ได้ต่อไป ตำรา เรื่อง โรคหลอดเลือดสมองและประสาทวิทยาวิกฤติ โดยรองศาสตราจารย์ นายแพทย์สมบัติ มุ่งทวีพงษา นับเป็นตัวอย่างหนึ่งของการสืบสานต่อยอดศาสตร์ทางการแพทย์ได้เป็นอย่างดี โดยผู้นิพนธ์ได้รวบรวมเรียบเรียงเนื้อหาที่เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองและภาวะวิกฤติทางระบบประสาทไว้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์และเป็นระบบ UR - https://elibrary-bcnb.cu-elibrary.com/rent/detail/e5f7bb00-40dd-4dc2-83e0-8088efbafdd8 UR - https://d3hod2efgorauj.cloudfront.net/images/coverImages/medium/e5f7bb00-40dd-4dc2-83e0-8088efbafdd8.jpg ER -