ภาวะธำรงดุลของร่างกายมนุษย์ และสารสื่อประสาทในสมอง ฉพ.2 / ปริศนา ปิยะพันธุ์

By: ปริศนา ปิยะพันธุ์ [ผู้แต่ง]Material type: TextTextPublisher: กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564Edition: พิมพ์ครั้งที่ 2Description: 3 online resource (180 หน้า)Content type: text Media type: computer Carrier type: online resourceISBN: 9796163147615; 9786163147615Subject(s): ภาวะธำรงดุล | ระบบประสาทออโตโนมิก | สารส่งผ่านประสาท | ปริญญาตรี / ปวส | แพทยศาสตร์Online resources: หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (ebook) CU-eLibrary | รูปหน้าปก (Cover image)
Contents:
บทที่ 1 หลักของภาวะธำรงดุล บทที่ 2 การรักษาภาวะธำรงดุลของร่างกายโดยระบบประสาทอัตโนวัติ บทที่ 3 สารสื่อประสาทในสมอง บทที่ 4 โรคจิตเวชที่เกิดจากความผิดปกติของภาวะธำรงดุลของสารสื่อประสาทในสมอง บทที่ 5 งานวิจัยผลของสารสกัดสมุนไพรพรมมิในการรักษาสมดุลของสารสื่อประสาทในสมองของหนูที่ถูกเหนี่ยวนำให้มีอาการของโรคจิตเภท
Summary: การรักษาสมดุลของร่างกายหรือภาวะธำรงดุล (Homeostasis) เป็นหัวใจสำคัญของวิชาสรีรวิทยาและเป็นพื้นฐานสำหรับการเรียนและการประกอบวิชาชีพด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ เนื่องจากการเกิดโรคมีสาเหตุมาจากความผิดปกติของกระบวนการรักษาสมดุลของระบบอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย ดังนั้นเพื่อที่จะเข้าใจพยาธิสภาพของโรค นักศึกษาจำเป็นต้องมีพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับกลไกการรักษาสมดุลของร่างกายให้อยู่ในสภาวะปกติซึ่งได้อธิบายในบทที่ 1 ของตำรา เล่มนี้ การรักษาสมดุลของร่างกายอาศัยการทำงานของระบบประสาทอัตโนวัติเป็นหลักในบทที่ 2 จึงได้อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของระบบประสาทอัตโนวัติและบทบาทหน้าที่ในการควบคุมสมดุลของร่างกาย นอกจากสมดุลของระบบอวัยวะต่างๆ ในร่างกายแล้ว สมดุลของสารสื่อประสาทในสมองก็มีบทบาทสำคัญต่อการเกิดโรคต่างๆ เช่นกัน โดยเฉพาะโรคทางจิตเวช ในบทที่ 3 และ 4 จึงมีเนื้อหาว่าด้วยสมดุลของสารสื่อประสาทชนิดต่างๆ ในสมองที่มีความเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคทางจิตเวชที่สำคัญ ได้แก่ โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้วและโรคจิตเภท เป็นต้น นอกจากนี้ยังสรุปหน้าที่ของสารสื่อประสาทในสมองและบทบาทของสารสื่อประสาทเหล่านี้ในการควบคุมพฤติกรรม อารมณ์ ระดับความรู้สึกตัว วงจรการหลับ/ตื่นในวัยผู้ใหญ่และวัยสูงอายุ
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

บทที่ 1 หลักของภาวะธำรงดุล
บทที่ 2 การรักษาภาวะธำรงดุลของร่างกายโดยระบบประสาทอัตโนวัติ
บทที่ 3 สารสื่อประสาทในสมอง
บทที่ 4 โรคจิตเวชที่เกิดจากความผิดปกติของภาวะธำรงดุลของสารสื่อประสาทในสมอง
บทที่ 5 งานวิจัยผลของสารสกัดสมุนไพรพรมมิในการรักษาสมดุลของสารสื่อประสาทในสมองของหนูที่ถูกเหนี่ยวนำให้มีอาการของโรคจิตเภท

การรักษาสมดุลของร่างกายหรือภาวะธำรงดุล (Homeostasis) เป็นหัวใจสำคัญของวิชาสรีรวิทยาและเป็นพื้นฐานสำหรับการเรียนและการประกอบวิชาชีพด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ เนื่องจากการเกิดโรคมีสาเหตุมาจากความผิดปกติของกระบวนการรักษาสมดุลของระบบอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย ดังนั้นเพื่อที่จะเข้าใจพยาธิสภาพของโรค นักศึกษาจำเป็นต้องมีพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับกลไกการรักษาสมดุลของร่างกายให้อยู่ในสภาวะปกติซึ่งได้อธิบายในบทที่ 1 ของตำรา เล่มนี้ การรักษาสมดุลของร่างกายอาศัยการทำงานของระบบประสาทอัตโนวัติเป็นหลักในบทที่ 2 จึงได้อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของระบบประสาทอัตโนวัติและบทบาทหน้าที่ในการควบคุมสมดุลของร่างกาย นอกจากสมดุลของระบบอวัยวะต่างๆ ในร่างกายแล้ว สมดุลของสารสื่อประสาทในสมองก็มีบทบาทสำคัญต่อการเกิดโรคต่างๆ เช่นกัน โดยเฉพาะโรคทางจิตเวช ในบทที่ 3 และ 4 จึงมีเนื้อหาว่าด้วยสมดุลของสารสื่อประสาทชนิดต่างๆ ในสมองที่มีความเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคทางจิตเวชที่สำคัญ ได้แก่ โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้วและโรคจิตเภท เป็นต้น นอกจากนี้ยังสรุปหน้าที่ของสารสื่อประสาทในสมองและบทบาทของสารสื่อประสาทเหล่านี้ในการควบคุมพฤติกรรม อารมณ์ ระดับความรู้สึกตัว วงจรการหลับ/ตื่นในวัยผู้ใหญ่และวัยสูงอายุ

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

ห้องสมุด | BCNB Library วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ ชั้น 3 อาคารสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 02-354-8241-2 ต่อ 3308
website counter