ชีวเคมี การตายของเซลล์และการประยุกต์ทางคลินิก (BIOCHEMISTRY OF CELL DEATH & CLINICAL APPLICATION) / า บรรเจิดพงชัย

By: า บรรเจิดพงชัย [ผู้แต่ง]Material type: TextTextPublisher: กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563Edition: พิมพ์ครั้งที่ 1Description: 1 online resource (564 หน้า)Content type: text Media type: computer Carrier type: online resourceISBN: 9786164859104; 9786164859104Subject(s): ตำราแพทย์และพยาบาล | แพทยศาสตร์Online resources: หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (ebook) | รูปหน้าปก (Cover image) Summary: หนังสือชีวเคมีการตายของเซลล์และการประยุกต์ใช้ทางคลินิก เป็นการรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับการตายชนิดต่าง ๆ ของเซลล์ และเน้นเรื่องคุณสมบัติทางชีวเคมีของเซลบ์ที่ตายแบบ อะพอพโทซิส (apoptosis) แบบออโตฟากี (autophagic cell death) และแบบเน็คคร็อพโทซิส (necroptosis) ซึ่งการตายแบบอะพอพโทซิส มีกลไกการตายผ่านทางวิถีภายนอก และวิถีภายในรวมถึงบทบาทของภาวะรีด็อกซ์ ภาวะเครียดออกซิเดชัน (oxidative stress) และภาวะเครียดร่างแหเอนโดพลาซึม (endoplasmic reticulum stress) การประยุกต์ใช้ทางคลินิก มีรายละเอียดของโรคอันเนื่องมาจากความผิดปกติในการตายของเซลล์ เช่น การที่เซลล์ตายน้อยเกินไป ได้แก้ โรคมะเร็ง และโรคติดเชื้อ และการตายของเซลล์ที่มีมากเกินไป ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคการเสือมของระบบประสาท โรคตับแข็ง โรคบางชนิดอาจจะพบการตายมากกว่าหนึ่งชนิด เช่น โรคมะเร็ง การเนี่ยวนำเซลล์มะเร็งโดยสารสมุดนไพร สามารถกระตุ้นให้เซลล์ตายทั้งแบบอะพอพโทซิส แบบออโตฟากี และแบบเน็คคร็อพโทซิสได้ องค์ความรู้ใหม่ในเรื่องชีวเคมีการตายของเซลล์และการประยุกต์ใช้ทางคลินิกนี้ มีความทันมัย และเป็นปัจจุบัน เนื่องจากได้เอาองค์ความรู้ใหม่ ๆ จากวารสารวิชาการ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนงานวิจัยของผู้นิพนธ์ที่เกี่ยวกับสมุนไพรและโรคมะเร็งชนิดต่าง ๆ โดยใช้เซลล์มะเร็งเพาะเลี้ยงเป็นแบบจำลองในการศึกษา
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

หนังสือชีวเคมีการตายของเซลล์และการประยุกต์ใช้ทางคลินิก เป็นการรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับการตายชนิดต่าง ๆ ของเซลล์ และเน้นเรื่องคุณสมบัติทางชีวเคมีของเซลบ์ที่ตายแบบ อะพอพโทซิส (apoptosis) แบบออโตฟากี (autophagic cell death) และแบบเน็คคร็อพโทซิส (necroptosis) ซึ่งการตายแบบอะพอพโทซิส มีกลไกการตายผ่านทางวิถีภายนอก และวิถีภายในรวมถึงบทบาทของภาวะรีด็อกซ์ ภาวะเครียดออกซิเดชัน (oxidative stress) และภาวะเครียดร่างแหเอนโดพลาซึม (endoplasmic reticulum stress) การประยุกต์ใช้ทางคลินิก มีรายละเอียดของโรคอันเนื่องมาจากความผิดปกติในการตายของเซลล์ เช่น การที่เซลล์ตายน้อยเกินไป ได้แก้ โรคมะเร็ง และโรคติดเชื้อ และการตายของเซลล์ที่มีมากเกินไป ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคการเสือมของระบบประสาท โรคตับแข็ง โรคบางชนิดอาจจะพบการตายมากกว่าหนึ่งชนิด เช่น โรคมะเร็ง การเนี่ยวนำเซลล์มะเร็งโดยสารสมุดนไพร สามารถกระตุ้นให้เซลล์ตายทั้งแบบอะพอพโทซิส แบบออโตฟากี และแบบเน็คคร็อพโทซิสได้ องค์ความรู้ใหม่ในเรื่องชีวเคมีการตายของเซลล์และการประยุกต์ใช้ทางคลินิกนี้ มีความทันมัย และเป็นปัจจุบัน เนื่องจากได้เอาองค์ความรู้ใหม่ ๆ จากวารสารวิชาการ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนงานวิจัยของผู้นิพนธ์ที่เกี่ยวกับสมุนไพรและโรคมะเร็งชนิดต่าง ๆ โดยใช้เซลล์มะเร็งเพาะเลี้ยงเป็นแบบจำลองในการศึกษา

There are no comments on this title.

to post a comment.
ห้องสมุด | BCNB Library วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ ชั้น 3 อาคารสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 02-354-8241-2 ต่อ 3308
website counter