การศึกษาทางวิทยาการระบาด =Epidemiological Studies / อาจินต์ สงทับ

By: อาจินต์ สงทับ [ผู้แต่ง]Material type: TextTextPublisher: กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2565Edition: พิมพ์ครั้งที่ 1Description: 2 online resource (242 หน้า)Content type: text Media type: computer Carrier type: online resourceISBN: 9786164262218; 9786164262799Subject(s): วิทยาการระบาดสำหรับนำมาประยุกต์ใช้ในงาน | บุคลากรด้านสุขภาพ และสาธารณสุข | ตำราแพทย์และพยาบาล | สาธารณสุขศาสตร์Online resources: หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (ebook) CU-elibrary | รูปหน้าปก (Cover image)
Contents:
บทที่ 1. แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาระบาด บทที่ 2. รูปแบบการศึกษาทางวิทยาการระบาด บทที่ 3. การศึกษาวิทยาการระบาดเชิงพรรณนา บทที่ 4. การกระจายของโรค บทที่ 5. การศึกษาภาคตัดขวางเชิงวิเคราะห์ บทที่ 6. การศึกษา Cohort บทที่ 7. การศึกษาCase Control บทที่ 8. การศึกษาเชิงทดลอง บทที่ 9. การคำนวณขนาดตัวอย่างสำหรับการศึกษาทางวิทยาการระบาด
Summary: ความรู้ด้านวิทยาการระบาดหรือระบาดวิทยา (Epidemiology) ได้ก้าวหน้าไปมากตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน จนกระทั่งถือว่าวิทยาการระบาดเป็นแขนงหนึ่งที่สำคัญยิ่งของสายงานด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ บุคลากรด้านสุขภาพทุกสาขาที่เกี่ยวข้องจำเป็นต้องศึกษาวิทยาการระบาดสำหรับนำมาประยุกต์ใช้ในงานของตนเพื่อให้สามารถแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนได้มีอย่างมีประสิทธิภาพ ในการดำเนินงานด้านสุขภาพ การนำหลักการศึกษาทางวิทยาการระบาดมาประยุกต์ใช้นั้นต้องอาศัยเครื่องมือ อาจเป็นหนังสือหรือตัวบุคคลที่มีประสบการณ์ในการชี้แนะแนวทางให้การดำเนินการวิจัย ประสบผลสำเร็จ ซึ่งหนังสือเล่มนี้มุ่งเน้นเรื่องการศึกษาทางวิทยาการระบาดแต่ละชนิดที่บุคลากรด้านสุขภาพสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางดำเนินการวิจัยเพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่อันนำมาแก้ไขปัญหาสุขภาพ ซึ่งจะช่วยในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของมวลมนุษยชาติ
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

บทที่ 1. แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาระบาด
บทที่ 2. รูปแบบการศึกษาทางวิทยาการระบาด
บทที่ 3. การศึกษาวิทยาการระบาดเชิงพรรณนา
บทที่ 4. การกระจายของโรค
บทที่ 5. การศึกษาภาคตัดขวางเชิงวิเคราะห์
บทที่ 6. การศึกษา Cohort
บทที่ 7. การศึกษาCase Control
บทที่ 8. การศึกษาเชิงทดลอง
บทที่ 9. การคำนวณขนาดตัวอย่างสำหรับการศึกษาทางวิทยาการระบาด

ความรู้ด้านวิทยาการระบาดหรือระบาดวิทยา (Epidemiology) ได้ก้าวหน้าไปมากตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน จนกระทั่งถือว่าวิทยาการระบาดเป็นแขนงหนึ่งที่สำคัญยิ่งของสายงานด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ บุคลากรด้านสุขภาพทุกสาขาที่เกี่ยวข้องจำเป็นต้องศึกษาวิทยาการระบาดสำหรับนำมาประยุกต์ใช้ในงานของตนเพื่อให้สามารถแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนได้มีอย่างมีประสิทธิภาพ ในการดำเนินงานด้านสุขภาพ การนำหลักการศึกษาทางวิทยาการระบาดมาประยุกต์ใช้นั้นต้องอาศัยเครื่องมือ อาจเป็นหนังสือหรือตัวบุคคลที่มีประสบการณ์ในการชี้แนะแนวทางให้การดำเนินการวิจัย ประสบผลสำเร็จ ซึ่งหนังสือเล่มนี้มุ่งเน้นเรื่องการศึกษาทางวิทยาการระบาดแต่ละชนิดที่บุคลากรด้านสุขภาพสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางดำเนินการวิจัยเพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่อันนำมาแก้ไขปัญหาสุขภาพ ซึ่งจะช่วยในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของมวลมนุษยชาติ

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

ห้องสมุด | BCNB Library วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ ชั้น 3 อาคารสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 02-354-8241-2 ต่อ 3308
website counter