การบำบัดปวดในเวชปฏิบัติ / นุช ตันติศิรินทร์ :บรรณาธิการ

By: นุช ตันติศิรินทร์ :บรรณาธิการ [ผู้แต่ง]Material type: TextTextPublisher: กรุงเทพฯ : โครงการตำรารามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล, 2566Edition: พิมพ์ครั้งที่ 1Description: 5 online resource (334 หน้า)Content type: text Media type: computer Carrier type: online resourceISBN: 9786164438712; 9786164438712Subject(s): การบำบัดปวดมะเร็ง | หลักการและวิธีการในการประเมินความปวด | การบำบัดปวดในเด็ก | การระงับปวด | พยาบาลศาสตร์ | แพทยศาสตร์Online resources: หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (ebook) CU-eLibrary | รูปหน้าปก (Cover image)
Contents:
บทที่ 1.การนำสัญญาณความปวดและพยาธิสรีรวิทยาของความปวด บทที่ 2. เภสัชวิทยาของยาระงับปวด บทที่ 3. หลักการและวิธีการในการประเมินความปวด บทที่ 4. การบำบัดปวดในเด็ก บทที่ 5. การบำบัดปวดในหญิงตั้งครรภ์และให้นมบุตร บทที่ 6. การบำบัดปวดในผู้ป่วยสูงอายุ บทที่ 7. การบำบัดปวดหลังผ่าตัด บทที่ 8. การบำบัดปวดเหตุพยาธิสภาพประสาท บทที่ี 9. การบำบัดปวดมะเร็ง บทที่ 10. บทนำสู่หัตถการระงับปวด บทที่ 11. การพัฒนาระบบบริบาลสุขภาพสำหรับการบำบัดปวด
Summary: หนังสือเรื่อง "การบำบัดปวดในเวชปฏิบัติ" แบ่งเป็น 3 ส่วนหลัก ประกอบด้วย ความรู้พื้นฐาน ที่จำเป็นที่จะเอื้อให้การบำบัดปวดประสบความสำเร็จ ส่วนที่ 2 ความรู้ในการบำบัดปวดทางคลินิก และส่วนที่ 3 ความรู้ขั้นสูง ( advanced knowledge) ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับหัตถการระงับปวดเบื้องต้น เพื่อให้แพทย์ที่ดูแลผู้ป่วยที่ยังมีอาการปวดรุนแรงหลังได้รับการบำบัดปวดเบื้องต้นแล้ว มีทางเลือกในการบำบัดปวดเพิ่มขึ้นและมีความเข้าใจข้อบ่งชี้ ข้อห้ามของหัตถการระงับปวดที่มีประสิทธิภาพสูงในเวชปฏิบัติ สามารถส่งปรึกษาในเวลาที่เหมาะสม และเรื่องสุดท้ายของหนังสือเริ่มนี้ เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับการพัฒนาระบบงานบริบาลสุขภาพ (heath care delivery system) สำหรับการบำบัดปวด จึงเป็นหนังสือที่รวบรวม ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นในการบำบัดปวดในเวชปฏิบัติ เหมาะกับแพทย์ทั่วไปและแพทย์เฉพาะทางบางสาขา
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

บทที่ 1.การนำสัญญาณความปวดและพยาธิสรีรวิทยาของความปวด
บทที่ 2. เภสัชวิทยาของยาระงับปวด
บทที่ 3. หลักการและวิธีการในการประเมินความปวด
บทที่ 4. การบำบัดปวดในเด็ก
บทที่ 5. การบำบัดปวดในหญิงตั้งครรภ์และให้นมบุตร
บทที่ 6. การบำบัดปวดในผู้ป่วยสูงอายุ
บทที่ 7. การบำบัดปวดหลังผ่าตัด
บทที่ 8. การบำบัดปวดเหตุพยาธิสภาพประสาท
บทที่ี 9. การบำบัดปวดมะเร็ง
บทที่ 10. บทนำสู่หัตถการระงับปวด
บทที่ 11. การพัฒนาระบบบริบาลสุขภาพสำหรับการบำบัดปวด

หนังสือเรื่อง "การบำบัดปวดในเวชปฏิบัติ" แบ่งเป็น 3 ส่วนหลัก ประกอบด้วย ความรู้พื้นฐาน ที่จำเป็นที่จะเอื้อให้การบำบัดปวดประสบความสำเร็จ ส่วนที่ 2 ความรู้ในการบำบัดปวดทางคลินิก และส่วนที่ 3 ความรู้ขั้นสูง ( advanced knowledge) ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับหัตถการระงับปวดเบื้องต้น เพื่อให้แพทย์ที่ดูแลผู้ป่วยที่ยังมีอาการปวดรุนแรงหลังได้รับการบำบัดปวดเบื้องต้นแล้ว มีทางเลือกในการบำบัดปวดเพิ่มขึ้นและมีความเข้าใจข้อบ่งชี้ ข้อห้ามของหัตถการระงับปวดที่มีประสิทธิภาพสูงในเวชปฏิบัติ สามารถส่งปรึกษาในเวลาที่เหมาะสม และเรื่องสุดท้ายของหนังสือเริ่มนี้ เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับการพัฒนาระบบงานบริบาลสุขภาพ (heath care delivery system) สำหรับการบำบัดปวด จึงเป็นหนังสือที่รวบรวม ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นในการบำบัดปวดในเวชปฏิบัติ เหมาะกับแพทย์ทั่วไปและแพทย์เฉพาะทางบางสาขา

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

ห้องสมุด | BCNB Library วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ ชั้น 3 อาคารสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 02-354-8241-2 ต่อ 3308
website counter