000 08458nam a2200385 i 4500
003 MTX
005 20240619173006.0
008 240429s2021 th o 000 0 tha d
020 _a9786164386860
020 _a9786164386860
_qebook
037 _a28c3b8eb-6d8a-47eb-91d2-2b18f0230355
_bศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
040 _erda
_cBCNB Library
100 0 _aสุนิสา ชายเกลี้ยง,
_eผู้แต่ง
_934879
245 1 0 _aการประเมินความเสียงทางอาชีวอนามัยและความปลอดภัย /
_cสุนิสา ชายเกลี้ยง
250 _aพิมพ์ครั้งที่ 1
264 1 _aกรุงเทพฯ :
_bศูนย์สื่อการเรียนรู้มหาวิทยาลัยขอนแก่น,
_c2564
300 _a2 online resource (334 หน้า)
336 _atext
_btxt
_2rdacontent
337 _acomputer
_bc
_2rdamedia
338 _aonline resource
_bcr
_2rdacarrier
347 _bPDF
347 _c11.26 MB
505 _aการเกิดอุบัติภัยร้ายแรง : Major hazard -- การควบคุมอุบัติภัยร้ายแรงและการประเมินความเสี่ยงด้านสารเคมีต่อสุขภาพ -- การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากอันตราย -- การชี้บ่งอันตรายด้วยแบบตรวจ (Checklist) และการประเมินความเสี่ยง -- การชี้บ่งอันตรายด้วยวิธีการตั้งคำถาม What-if และการประเมินความเสี่ยง -- การบ่งชี้อันตรายด้วยการศึกษาอันตรายหรือปัญหาของระบบจากการออกแบบ (Harzards and operability studies; HAZOP) และการประเมินความเสี่ยง -- การบ่งชี้อันตรายด้วย Fault tree analysis (FTA) และการประเมินความเสี่ยง -- การบ่งชี้อันตรายด้วยเทคนิคการวิเคราะห์รูปแบบความเสียหายและผลกระทบ (Failure modes and effects analysis; FMEA) และการประเมิณความเสี่ยง -- การบ่งชี้อันตรายด้วยการประเมินผลของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากความผิดพลาด (Event tree analysis; ETA) และการประเมินความเสี่ยง -- แผนฉุกเฉินและการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน : Emergency plan and response
520 _aตำราเล่มนี้ได้เรียบเรียงจัดทำขึ้นภายใต้ทุนสนับสนุนการผลิตตำรา ของศูนย์นวัตกรรมการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ซึ่งเนื้อหาที่เรียบเรียงจะครอบคลุมด้านหลักการของการประเมินความเสี่ยงในงานอุตสาหกรรม การประเมินความเสี่ยงทางอาชีวอนามัยและความปลอดภัย จึงเหมาะสำหรับใช้ประกอบการเรียนการสอน สำหรับนักศึกษาทั้งระดับบัณฑิตศึกษาและนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย โดยมีเนื้อหาคือ บทที่ 1 การเกิดอุบัติภัยร้ายแรง บทที่ 2 การควบคุมอุบัติภัยร้ายแรงและการประเมินความเสี่ยงด้านสารเคมีต่อสุขภาพ บทที่ 3 การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากอันตราย และบทที่ 4 ถึงบทที่ 9 จะเป็นรายละเอียดวิธีการชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยงในทางอุตสาหกรรมตามวิธีการต่างๆ 6 วิธีการ พร้อมรวบรวมกรณีตัวอย่างที่มาจากกระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมและจากผลงานศึกษาวิจัยที่เผยแพร่แล้วระดับระดับชาติและนาชาติของผู้เขียน ในแต่ละบทของวิธีการบ่งชี้อันตราย คือ การใช้แบบตรวจ (Checklist) การตั้งคำถามวิเคราะห์ (What-if analysis) การศึกษาอันตรายหรือปัญหาของระบบจากการออกแบบ (HAZOP) การวิเคราะห์หาสาเหตุและผลหรือแผนภูมิต้นไม้ (FTA) เทคนิคการวิเคราะห์รูปแบบความเสียหายและผลกระทบ (FMEA) การประเมินผลของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากความผิดพลาด (ETA) ตามลำดับ และเนื้อหาสำคัญบทที่ 10 ด้านหลักการของแผนฉุกเฉินและการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน พร้อมยกตัวอย่างการจัดทำแผนฉุกเฉินจากประสบการณ์การจัดทำและการเป็นที่ปรึกษาหรือวิทยากรให้กับสถาบันต่างๆ ซึ่งการจัดทำตำราครั้งนี้ได้รับกรุณาจาก รองศาสตราจารย์วิชัย พฤกษ์ธาราธิกูล ร่วมเรียบเรียงและอ่านตรวจสอบเล่มนี้ ดังนั้นทั้งเนื้อหา กรณีตัวอย่าง ภาพ หรือเหตุการณ์ประกอบมาจากประสบการณ์ และการสอนทั้งในมหาวิทยาลัยและโรงงานอุตสาหกรรมมากว่า 30 ปี
650 _aการประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ
_935446
650 _aแผนฉุกเฉิน
_935447
650 _aอาชีวอนามัย
_98741
650 _aอุตสาหกรรม
_935448
650 _aการประเมินความเสี่ยงด้านสารเคมีต่อสุขภาพ
_935449
653 1 _aตำราแพทย์และพยาบาล
653 2 _aสาธารณสุขศาสตร์
856 4 _zหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (ebook)
_zCU-eLibrary
_uhttps://elibrary-bcnb.cu-elibrary.com/rent/detail/28c3b8eb-6d8a-47eb-91d2-2b18f0230355
856 4 _zรูปหน้าปก (Cover image)
_uhttps://d3hod2efgorauj.cloudfront.net/images/coverImages/medium/28c3b8eb-6d8a-47eb-91d2-2b18f0230355.jpg
942 _c07
_2z
_n0
999 _c30309
_d30309