000 06749nam a2200337 i 4500
003 MTX
005 20240620155647.0
008 240429s2023 th o 000 0 tha d
020 _a9786166034554
_qebook
037 _af0a453f9-8242-448f-ab3c-249e4f9bea0f
_bศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
040 _erda
_cBCNB Library
100 0 _aกรองทอง ถาวรานุรักษ์,
_eผู้แต่ง
_935083
245 1 0 _aการดูแลรักษา นอนกรน และภาวะหยุดหายใจ ขณะหลับจากการอุดกั้น (OVERVIEW MANAGEMENT FOR SNORING AND OBSTRUCTIVE SLEEP APNEA) /
_cกรองทอง ถาวรานุรักษ์
250 _aพิมพ์ครั้งที่ 1
264 1 _aกรุงเทพฯ :
_bน.ส. กรองทอง ถาวรานุรักษ์,
_c2566
300 _a2 online resource (226 หน้า)
336 _atext
_btxt
_2rdacontent
337 _acomputer
_bc
_2rdamedia
338 _aonline resource
_bcr
_2rdacarrier
347 _bPDF
347 _c26.04 MB
505 _aบทที่ 1. กายวิภาคและสรีรวิทยาของทางเดินหายใจส่วนบน บทที่ 2. นอนกรน และภาวะหยุดหายใจ ขณะหลับจากการอุดกั้น บทที่ 3. อาการทางคลินิกของภาวะหยุดหายใจ ขณะหลับจากการอุดกั้น บทที่ 4.แบบสอบถามคัดกรองผู้ป่วยภาวะหยุดหายใจ ขณะหลับจากการอุดกั้น บทที่ 5. การวินิจฉัยแยกโรคภาวะง่วงนอนกลางวันมากผิดปกติ บทที่ 6. การตรวจการนอนหลับ บทที่ 7. การตรวจการนอนหลับแบบพกพา และชนิดอื่นๆ บทที่ 8. แนวทางการวินิจฉัยภาวะหยุดหายใจ บทที่ 9. แนวทางการรักษากนอนกรน บทที่ 10. การใช้เครื่องอัดอากาศแรงดันบวก บทที่ 11. การผ่าตัดทางเดินหายใจส่่วนบน
520 _aการนอนหลับถือเป็นสิ่งสำคัญของร่างกาย ดังนั้นภาวะผิดปกติในขณะหลับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาการนอนกรน ร่วมกับภาวะหยุดหายใจขณะหลับจากการอุดกั้นนั้น ถือเป็นโรคที่พบได้บ่อยมากขึ้นในปัจจุบัน ซึ่งหากไม่ได้รับการวินิจฉัยและรักษา จะส่งผลรบกวนคุณภาพการนอนของผู้ป่วย ซึ่งจะส่งผลกระทบด้านการทำงาน คุณภาพชีวิตแย่ลง สมาธิความจำบกพร่อง อีกทั้งเพิ่มโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุจากการขับรถหรือจากเครื่องจักรกลได้ นอกจากนี้ ยังเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคแทรกซ้อนทางระบบหัวใจและหลอดเลือดตามมาได้ ผู้นิพนธ์ เคยฝึกอบรมในสาขา sleep medicine ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2557 ซึ่งในขณะนั้น ศูนย์ตรวจการนอนโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ยังไม่มีแพทย์เฉพาะทางโสต ศอ นาสิกวิทยา ให้การดูแลรักษาคนไข้ภาวะหยุดหายใจขณะหลับจากการอุดกั้นร่วมด้วย มีเพียงจิตแพทย์และ อายุรแพทย์เท่านั้น หลังการฝึกอบรมก็ได้นำองค์ความรู้ทันสมัยที่ได้รับมาพัฒนาศูนย์ตรวจ การนอน ให้มีมาตรฐานมากขึ้นทั้งในด้านการแปลผลตรวจการนอน ตลอดจนการดูแลรักษา ผู้ป่วยที่มีความหลากหลายมากขึ้น ได้แก่ การใช้เครื่องอัดอากาศแรงดันบวกทั้งชนิดแรงลม คงที่ ชนิดอัตโนมัติร่วมกับการใช้ระบบการตั้งค่าทางไกล เพื่อติดตามการใช้งานเครื่องของ ผู้ป่วย การรักษาด้วยทันตอุปกรณ์การออกกำลังกายกล้ามเนื้อคอหอย การผ่าตัดบริเวณ ทางเดินหายใจส่วนบน เป็นต้น
650 _aนอนกรน และภาวะหยุดหายใจ ขณะหลับจากการอุดกั้น
_935514
650 _aการรักษา--การผ่าตัดทางเดินหายใจ
_935515
653 1 _aตำราแพทย์และพยาบาล
653 2 _aแพทยศาสตร์
856 4 _zหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (ebook)
_zCU-eLibrary
_uhttps://elibrary-bcnb.cu-elibrary.com/rent/detail/f0a453f9-8242-448f-ab3c-249e4f9bea0f
856 4 _zรูปหน้าปก (Cover image)
_uhttps://d3hod2efgorauj.cloudfront.net/images/coverImages/medium/f0a453f9-8242-448f-ab3c-249e4f9bea0f.jpg
942 _c07
_2z
_n0
999 _c30609
_d30609