000 04917nam a2200253 i 4500
003 MTX
005 20240830101531.0
008 240429s2021 th o 000 0 tha d
020 _a9786164260207
037 _a7d9eb621-907c-45ea-9d93-20810beffe57
_bศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
040 _cBCNB Library
060 _aWB460 ว846ก 2566
100 0 _aวีระพงษ์ ชิดนอก,
_eผู้แต่ง
_927890
245 1 0 _aกายภาพบำบัดในผู้ป่วยภาวะวิกฤต /
_cวีระพงษ์ ชิดนอก, เอกลักษณ์ กอบสาริกรณ์
250 _aพิมพ์ครั้งที่ 5 (ฉบับปรับปรุง)
264 1 _aพิษณุโลก :
_bสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร,
_c2566
300 _a196 หน้า
505 _aสารบัญ-- การชักประวัติทางกายภาพบำบัดระบบทางเดินหายใจ และไหลเวียนโลหิตในผู้ป่วยภาวะวิกฤต -- การตรวจประเมินทางกายภาพบำบัดระบบทางเดินหายใจและไหลเวียนโลหิตในผู้ป่วยภาวะวิกฤต -- ผลตรวจทางห้องปฎิบัติการและสัญญาณชีพเพื่อการตัดสินใจให้การรักษาทางกายภาพบำบัด -- คลื่นไฟฟ้าหัวใจสำหรับนักกายภาพบำบัด -- ภาพถ่ายรังสีทรวงอกสำหรับนักกายภาพบำบัด -- ปัญหาทางกายภาพบำบัดระบบทางเดินหายใจและไหลเวียนโลหิตในผู้ป่วยภาวะวิกฤต -- กายภาพบำบัดในผู้ป่วยภาวะวิกฤตที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ -- กายภาพบำบัดในผู้ป่วยภาวะวิกฤตที่ได้รับการบำบัดด้วยออกซิเจน -- เทคนิคการรักษาทางกายภาพบำบัดสำหรับผู้ป่วยภาวะวิกฤต -- โปรแกรมการเคลื่อนไหวร่างกายทางกายภาพบำบัดในผู้ป่วยภาวะวิกฤต.
520 _aนักกายภาพบำบัด มีบทบาทสำคัญในการประยุกต์ใช้เทคนิคการรักษาทางกายภาพบำบัด เพื่อการบำบัดภาวะกล้ามเนื้ออ่อนแรงและข้อต่อติดการฝึกความแข็งแรงกล้ามเนื้อหายใจ การระบายเสมหะด้วยเทคนิคแบบต่าง ๆ ช่วยให้ผู้ป่วยหย่าเครื่องช่วยหายใจได้เร็วขึ้นจากภาวะวิกฤตของผู้ป่วยด้วยพยาธิสภาพของโรค การนอนบนเตียงเป็นเวลานาน และไม่ได้เคลื่อนไหวร่างกาย สามารถลดปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ ทำให้ผู้ป่วยสามารถกลับมาทำกิจกรรมต่าง ๆ และสามารถหายใจเองได้เร็วขึ้น ทั้งนี้นักกายภาพบำบัดควรทำการรักษาผู้ป่วยแบบองค์รวม โดยการวิเคราะห์ปัญหาผู้ป่วย วางแผนการรักษา และทำการรักษาให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีในระยะยาวสำหรับผู้ป่วย
650 _aการดูแลผู้ป่วยหนัก
_935219
650 _aกายภาพบำบัด
_92861
700 _aเอกลักษณ์ กอบสาริกรณ์
_eผู้แต่ง
_935930
942 _c10
_2z
_n0
999 _c30728
_d30728